แจ้งเตือนฝนตกหนัก
รหัสสถานีที่ตั้งสถานีสาเหตุการแจ้งเตือน
ไม่มีฝนหนัก
 
จัดอันดับท๊อปเท็น
RAIN(MAX)
[อุทกภัย]
TEMPERATURE(MAX)
[ภัยแล้ง]
TEMPERATURE(MIN)
[ภัยหนาว]
WIND(MAX)
[วาตภัย]
[1] 530202-001 (0 mm.)
[2] 530202-002 (0 mm.)
[3] 530201-001 (0 mm.)
[4] 530116-001 (0 mm.)
[5] 530115-001 (0 mm.)
[6] 530203-001 (0 mm.)
[7] 530701-001 (0 mm.)
[8] 530704-001 (0 mm.)
[9] 530703-001 (0 mm.)
[10] 530702-001 (0 mm.)
[1] 100704-001 (33.3 °C)
[2] 530202-002 (0 °C)
[3] 530202-001 (0 °C)
[4] 530116-001 (0 °C)
[5] 530115-001 (0 °C)
[6] 530201-001 (0 °C)
[7] 530203-001 (0 °C)
[8] 530703-001 (0 °C)
[9] 530704-001 (0 °C)
[10] 530702-001 (0 °C)
[1] 100704-001 (29.5 °C)
[1] 530202-001 (0 kph)
[2] 530202-002 (0 kph)
[3] 530201-001 (0 kph)
[4] 530116-001 (0 kph)
[5] 530115-001 (0 kph)
[6] 530203-001 (0 kph)
[7] 530701-001 (0 kph)
[8] 530704-001 (0 kph)
[9] 530703-001 (0 kph)
[10] 530702-001 (0 kph)
 
Thai Marine Meteorological Center
Wind field at 850 hPa Unit degree/knotsRelative vorticity at 500 hPa Unit *10**(-5) 1/Second

อ้างอิงจาก:  Thai Marine Meteorological Center

 
ข่าวพยากรณ์อากาศ
อาทิตย์, 08 ธันวาคม 2024 02:10















 
เนื้อหา
ประกาศทั่วไป
หลักการทำงานของระบบเบื้องต้น

อ่านรายละเอียดได้ที่บทความ http://www.weatherwatch.in.th/index.php?ind=reviews&op=entry_view&iden=18

โดย Atten, ศุกร์, 24 มิถุนายน 2011 09:01 แนะนำติชม(0), อ่านทั้งหมด
ประกาศทั่วไป
โครงสร้างของสถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติ


อ่านบทความได้ที่ http://www.weatherwatch.in.th/index.php?ind=reviews&op=entry_view&iden=17

โดย Atten, ศุกร์, 24 มิถุนายน 2011 08:54 แนะนำติชม(0), อ่านทั้งหมด
ประกาศทั่วไป
โครงสร้างของระบบสนับสนุนการตัดสินใจเตือนภัยน้ำท่วม

 

โครงสร้างของระบบสนับสนุนการตัดสินใจเตือนภัยน้ำท่วม

ขั้นตอนที่สำคัญสี่ขั้นตอนในการพยากรณ์และแจ้งเตือนน้ำท่วมฉับพลันได้แก่ การตรวจอากาศเพื่อให้ทราบสภาวะอากาศปัจจุบัน การสื่อสารเพื่อรวบรวมข้อมูลผลการตรวจอากาศ การวิเคราะห์ข้อมูลและทฤษฎีการพยากรณ์เพื่อการคาดหมาย และการแจ้งข่าวเพื่อออกคำเตือน โดยระบบจะเริ่มทำงานเรียงลำดับตั้งแต่ขั้นตอนแรกเป็นการบันทึกผลการตรวจอากาศที่ได้รับจากสถานีตรวจอากาศอัตโนมัติ (AWS) ขั้นตอนที่สองคือการวิเคราะห์ผลการตรวจอากาศที่ได้จากขั้นตอนแรกโดยการกำหนดค่าวิกฤตของพารามิเตอร์ทางอุตุนิยมวิทยาแต่ละตัว เพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงของพารามิเตอร์ทางอุตุนิยมวิทยา และแสดงเสถียรภาพของบรรยากาศซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้เกิดฝนตกหนัก และได้นำเอาภาพดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และผลลัพธ์จาก NWP มาร่วมประกอบในการคำนวณโดยใช้ทฤษฎีโครงข่ายใยประสาทเทียม (ANN) เป็นเครื่องมือในการพยากรณ์อากาศ ขั้นตอนที่สามคือการคาดหมายการเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนที่ของตัวระบบลมฟ้าอากาศที่วิเคราะห์ได้ในขั้นตอนที่สอง ขั้นตอนที่สี่คือการแจ้งเตือนเพื่อออกคำเตือน ณ ช่วงเวลาและบริเวณที่ต้องการ โดยพิจารณาจากตำแหน่งและความรุนแรงของระบบลมฟ้าอากาศที่ได้ดำเนินการไว้แล้วในขั้นตอนที่สาม ไปยังสื่อมวลชนเพื่อเผยแพร่ต่อไปสู่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย และส่งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการต่อไป ตามความเหมาะสม เช่นกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ภาพโครงสร้างของระบบสนับสนุนการตัดสินใจเตือนภัย


ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสาร/แผ่นพับ เพิ่มเติมได้ที่ส่วนดาวน์โหลดหรือ คลิ๊กที่นี่


โดย Atten, พฤหัส, 25 พฤษจิกายน 2010 16:23 แนะนำติชม(0), อ่านทั้งหมด
 
 
สนับสนุนโดย
มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ)ยามยากสภากาชาดไทย บริษัท นครไทยเน็ตเวิร์ค จำกัด DTAC Advance Info Service กรมอุตุนิยมวิทยา นักวิทยุสมัครเล่น -->
Copyright ©2008 NakhonThai Network Co.,Ltd. All rights reserved.