ส่วนของบทความ

ส่วนของบทความ->สถานีตรวจอากาศอัตโนมัติ->โครงสร้างของสถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติ [ ค้นหา ]

โครงสร้างของสถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติ
zoom
หัวข้อ โครงสร้างของสถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติ
รายละเอียด แสดงภาพโดยรวมของสถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติ
ส่งโดย Atten
ความหมายและรายละเอียดของอุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ

Rain Collector Sensor ( ตัวตรวจจับปริมาณน้ำฝน )
ลักษณะ : ทำด้วยพลาสติกคุณภาพสูงไม่เป็นสนิมหรือถูกกัดกร่อน เป็นรูป
ทรงกระบอกตัดขอบบน มีรูสำ หรับนํ ้าไหลลงตรงกลาง มีเส้ น
ผ่าศูนย์กลางขนาด 6 นิว้ เป็นชนิดคานกระดก
คุณสมบัติ : ทำ หน้าที่ตรวจวัดปริมาณนํ้าฝน มีความละเอียดในการวัด
0.2มิลลิเมตร

Hygro Sensor ( ตัวตรวจจับอากาศรวม )
ลักษณะ : โครงสร้างภายนอกเป็น Radiation Shield (เกราะป้องกันรังสี) มีไว้เพื่อ
ป้ องกันเซ็นเซอร์ตรวจอากาศสัมพัทธ์โดยตรงกับแสงแดด นำ้ ฝน หิมะ
ฯลฯ ทำด้วยพลาสติกเป็นแผ่นชัน้ เหมือน ไม่นำความร้อนจากภายนอก
เข้าสู่เซ็นเซอร์ ป้ องกันนำ้ ฝนและลมที่จะกระทบให้เซ็นเซอร์เสียหาย
ส่วนโครงสร้างภายใน จะเป็นส่วนของตัวเซ็นเซอร์ที่ประกอบบนแผ่น
วงจรพิมพ์(PCB) ซึ่งจะมีกรอบพลาสติกเจาะรูครอบปิดอีกชัน้ เพื่อกัน
แมลงปีกบินเข้าไปทำรังที่ตัวเซ็นเซอร์ บนแผ่นวงจรพิมพ์มีเซ็นเซอร์ 2
ชนิดต่ออยู่คือ SHT-15 และ SCP1000 ดังนัน้ จุดเชื่อมต่อจึงใช้ 2เส้น
เข้ากับพอร์ตที่ 2 และ 3
คุณสมบัติ : เซ็นเซอร์ SHT-15 เป็นเซ็นเซอร์ตรวจวัดอุณภูมิอากาศ(Temperature)
และตรวจวัดค่าความชิน้ สัมพัทธ์ในอากาศ(Humidity)
เซ็นเซอร์ SCP1000 เป็นตัวตรวจวัดความกดอากาศ(Barometric
Pressure)
9

Solar Radiation Sensor ( ตัวตรวจจับพลังงานแสงอาทิตย์ )
ลักษณะ : ทำด้วยพลาสติกคุณภาพสูงไม่เป็นสนิมหรือถูกกัดกร่อน ตรงกลางเป็น
พลาสติกสีขาวขุ่นทำหน้าที่กรองและลดแสงเข้าสู่ตัวเซ็นเซอร์ตรวจจับ
ภายใน มีลูกนำ้ อยู่ด้านข้างเพื่อตัง้ ให้อยู่ในระดับตัง้ ฉากกับพืน้ โลกเสมอ
คุณสมบัติ : ใช้วัดค่าพลังงานแสงอาทิตย์หน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร มักนำไปใช้
เพื่อวิเคราะห์พลังงานแสงแดดในแต่ละวันนำไปใช้งานเช่น เป็นข้อมูล
เพื่อติดแผงโซล่าเซลล์ เป็ นข้อมูลพระอาทิตย์ขึน้ หรือตกในพืน้ ที่นัน้ ๆ
เป็นข้อมูลเพื่อดูปริมาณเมฆในท้องฟ้าในตอนกลางวัน เป็นต้น

Anemometer Sensor ( ตัวตรวจจับลม )
ลักษณะ : ทำด้วยพลาสติกคุณภาพสูงไม่เป็นสนิมหรือถูกกัดกร่อนประกอบ ด้วย
2 ชิน้ ที่สำคัญคือ ส่วนบนจะคล้ายกับหางเครื่องบินทำหน้าที่หันไปตาม
ทิศลมที่เข้ามา ส่วนล่างเป็นลูกถ้วยถ้ามีลมจะหมุนเพื่อวัดความเร็วลม
คุณสมบัติ : ใช้วัดค่าความเร็วลมและทิศทางลม

Soil Sensor ( ตัวตรวจจับดิน )
ลักษณะ : เป็ นเซ็นเซอร์ที่ฝังไว้ในดิน ใช้วัดอุณภูมิและความชิน้ ในดิน ส่วนใหญ่
เป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการเกษตรกรรม
คุณสมบัติ : ใช้วัดค่าอุณหภูมิในดิน และความชืน้ ในดิน

RS485 ( เครือข่ายสื่อสาร )
ลักษณะ : เป็นจุดเชื่อมต่อกับอุปกรณ์เสริมอื่น ๆ โดยใช้การสื่อสารด้วยสาย
ทองแดง 2เส้นแบบ RS485 เดินสายยาวได้ไกลถึง 4000ฟุต
คุณสมบัติ : ใช้การต่อเชื่อมกับคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เสริม ในระบบ SCADA

Digital Camera ( กล้องถ่ายภาพนิ่ง )
ลักษณะ : คล้ายกับอุปกรณ์ CCTV แต่ตัวเซ็นเซอร์รับภาพนัน้ ต่างกัน โดยตัวนีจ้ ะ
ส่งข้อมูลออกมาในรูปสัญญาณดิจิตอลและบีบอัดภาพมาเป็น JPEG
10
คุณสมบัติ : ใช้สำหรับเก็บบันทึกภาพนิ่ง เพื่อใช้ดูสภาพพืน้ ในช่วงเวลากลางวัน

Water Level ( ตรวจวัดระดับน้ำ )
ลักษณะ : เป็นอุปกรณ์ชนิดอุลตร้าโซนิควัดระยะทาง นำมาประยุกต์วัดระยะทาง
ความสูงของเซ็นเซอร์กับผิวนำ้ แล้วนำไปคำนวณหาความสูงของนำ้ อีก
ครัง้ จึงทำให้การวัดแบบไม่สัมผัส มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน
คุณสมบัติ : ใช้วัดระดับความสูงของนำ้ ตามแม่นำ้ ลำคลอง อ่างเก็บนำ้ เป็นต้น

TNC (Terminal Node Controler)
ลักษณะ : เป็นพอร์ตเชื่อมต่อกับอุปกรณ์จำพวก TNC ที่จะส่งข้อมูลผ่าน TNC
ออกวิทยุรับส่งทั่วไป
คุณสมบัติ : ใช้เชื่อมต่อกับระบบวิทยุสื่อสารอื่น ๆ ผ่านโมเด็ม TNC เช่นนำไปใช้กับ
ระบบ APRS ในเครือข่ายกิจการวิทยุสมัครเล่น ซึ่งสามารถทำหน้าที่
เป็น IGATE หรือรายงานข้อมูลอากาศ WX ได้

Data Loger ( เครื่องควบคุมส่วนกลาง )
ลักษณะ : เป็ นกล่องพลาสติกหุ้มด้วยโฟมและอลูมิเนียมฟรอยด์ ข้างในบรรจุ
แบตเตอร์รี่และแผงวงจรควบคุม
คุณสมบัติ : เป็ นตัวใจของระบบทัง้ หมด ทำหน้าที่แปลงค่าสัญญาณจากตัวตรวจ
จับให้เป็นข้อมูล พร้อมทัง้ จัดเก็บหรือส่งข้อมูลไปแสดงผล ตลอดไปถึง
การจัดการพลังงานในตัวเองและระบบการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ
Solar Cell ( แผงเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ )
ลักษณะ : เป็นแบบโมโนคริสตอล หรือผลึกคริสตอล ขนาดใหญ่สีนำ้ เงิน
คุณสมบัติ : ใช้แปลงพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า ขนาด 20 W เพื่อใช้
เป็นพลังงานในการทำงานตลอดวัน
โหวต โหวต: 1 - เฉลี่ย: 5

เพิ่มคำติชม ให้คะแนน
แนะนำติชม

สถิติ
นั้นมี 17 บทวิจารณ์ในฐานข้อมูล
ชมมากสุด: แปลงหน่วย
คะแนนมากสุด: แปลงหน่วย

จำนวนผู้ใช้ทั้งหมดที่ดูบทความในขณะนี้: 1 (0 สมาชิกที่ลงทะเบียน 1 แขก และ 0 สมาชิกที่ไม่ออกนาม)
สมาชิกที่มองเห็นได้: 0


 
 
สนับสนุนโดย
มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ)ยามยากสภากาชาดไทย บริษัท นครไทยเน็ตเวิร์ค จำกัด DTAC Advance Info Service กรมอุตุนิยมวิทยา นักวิทยุสมัครเล่น -->
Copyright ©2008 NakhonThai Network Co.,Ltd. All rights reserved.